สถานีรถไฟ สถานีชุมทางบางซื่อ ของ สถานีบางซื่อ

ชุมทางบางซื่อ
Bang Sue Junction
กิโลเมตรที่ 7.47
สทล 10+375
SRT telegraph post at km.10.375
+2.90 กม.
ประดิพัทธ์
Pradiphat
-1.10 กม.
ที่ทำการรับส่งสินค้าพหลโยธิน
Phahonyothin Freight Terminal
+0.00 กม.
ดูเพิ่ม : รายชื่อสถานีรถไฟ ย่านชานเมือง
ชุมทางบางซื่อ
ที่ตั้งเขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร
เจ้าของการรถไฟแห่งประเทศไทย
สายรถไฟทางไกลและรถไฟฟ้า ของ รฟท.
ชานชาลาระดับดิน
ราง4 ชานชาลาราง (ตัวสถานี)
ประมาณ 60 ชานชาลาราง (ย่านสับเปลี่ยน)
8 ชานชาลาราง (โรงรถจักร)
การเชื่อมต่อรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล
(สถานีบางซื่อ)
ข้อมูลเพิ่มเติม
รหัสสถานี1007 - ไทย: บซ; อังกฤษ: BSJ

สถานีชุมทางบางซื่อ (อังกฤษ: Bang Sue Junction Station, รหัส บช) เป็นสถานีรถไฟชั้น 1 ตั้งอยู่ที่ ถนนเทอดดำริ แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร เป็นสถานีชุมทางรถไฟหลักของประเทศไทย ซึ่งแยกทางรถไฟสายใต้ ออกจากทางรถไฟสายเหนือและสายตะวันออกเฉียงเหนือ รวมถึงยังเป็น 1 ใน 2 สถานีชุมทางรถไฟที่ตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานคร คือ สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ และสถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน และเป็น 1 ใน 15 สถานีชุมทางรถไฟในประเทศไทย

แผนผังสถานี

G
ระดับถนน
-ป้ายรถประจำทาง, สถานีบางซื่อ ทางออก 1-2
G
ชานชาลารถไฟทางไกล
สายใต้
สายเหนือ
สายตะวันออกเฉียงเหนือ
ชานชาลา 28 รฟท. ใต้  ปลายทาง สถานีกันตัง, สถานีนครศรีธรรมราช, สถานีปาดังเบซาร์, สถานีสุไหงโกลก
ชานชาลาเกาะกลาง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย/ขวา
ชานชาลา 27 รฟท. ใต้  ปลายทาง สถานีกรุงเทพ
ชานชาลา 26, 26 รฟท. เหนือ  ปลายทาง สถานีเชียงใหม่, สถานีเชียงของ(อนาคต)
 รฟท. ตะวันออกเฉียงเหนือ  ปลายทาง สถานีหนองคาย, สถานีอุบลราชธานี
ชานชาลาเกาะกลาง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย/ขวา
ชานชาลา 25, 25 รฟท. เหนือ  ปลายทาง สถานีกรุงเทพ
 รฟท. ตะวันออกเฉียงเหนือ  ปลายทาง สถานีกรุงเทพ
G
ระดับถนน
-ย่านสับเปลี่ยน, โรงรถจักร, โครงการสถานีกลางบางซื่อ

ตารางเวลาเดินรถ

ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้

เที่ยวขึ้น

ขบวนรถต้นทางชุมทางบางซื่อปลายทางหมายเหตุ
ชื่อสถานีเวลาออกชื่อสถานีเวลาถึง
ช303กรุงเทพ04.2004.35ลพบุรี07.05ยกเว้นวันหยุดราชการ
ช339กรุงเทพ05:2005.33ชุมทางแก่งคอย08:15ยกเว้นวันหยุดราชการ
ดพ21กรุงเทพ05.4506.04อุบลราชธานี14.00
ร135กรุงเทพ06.4007.02อุบลราชธานี18.00
ร111กรุงเทพ07.0007.21เด่นชัย16.30
ดพ43กรุงเทพ08.0508.25สุราษฎร์ธานี16.30
ด75กรุงเทพ08.2008.38หนองคาย17.30
ดพ7กรุงเทพ08.3008.48เชียงใหม่19.30ขบวนที่ 9 เดิม
(ก่อน พ.ศ. 2555)
ธ261กรุงเทพ09.2009.39หัวหิน13.35
ธ201กรุงเทพ09.2509.46พิษณุโลก17.55
ด71กรุงเทพ10.0510.25อุบลราชธานี19.50ขยายปลายทาง
จากศรีสะเกษ[1]
ดพ3กรุงเทพ10.5011.11ศิลาอาสน์19.15
ธ209กรุงเทพ11.2011.40บ้านตาคลี15.40
ธ233กรุงเทพ11:4012.03สุรินทร์20:00
ธ211กรุงเทพ12.5513.16ตะพานหิน19.15
ร171กรุงเทพ13:0013.23สุไหงโก-ลก10:45
ร109กรุงเทพ13.4514.06เชียงใหม่04.05
ธ207กรุงเทพ14.0514.26นครสวรรค์19.35
ดพ31กรุงเทพ14.4515.07ชุมทางหาดใหญ่06.35
ดพ37กรุงเทพ15.1015.32สุไหงโก-ลก11.25ร่วมการโดยสาร
กับขบวนที่ 45
ดพ45กรุงเทพ15.1015.32ปาดังเบซาร์09.53
(GMT+8)
(ขบวนที่ 35 เดิม)
ร่วมการโดยสาร
กับขบวนที่ 37
ร145กรุงเทพ15.2015.42อุบลราชธานี03.15
ร169กรุงเทพ15:3515.58ยะลา11:20
ช301กรุงเทพ16.3016.51ลพบุรี20.05เดินรถเฉพาะวันหยุดราชการ
ช355กรุงเทพ16.4016.59สุพรรณบุรี20.15
ช341กรุงเทพ17:0017.19ชุมทางแก่งคอย20:15ยกเว้นวันหยุดราชการ
ด83กรุงเทพ17.0517.28ตรัง07.55
ช317กรุงเทพ17.2517.45ลพบุรี20.25ยกเว้นวันหยุดราชการ
ร173กรุงเทพ17.3517.58นครศรีธรรมราช09.55
ดพ9กรุงเทพ18.1018.31เชียงใหม่07.15ทดแทนขบวนที่ 1
(อดีตเป็นรถด่วนพิเศษดีเซลรางปรับอากาศ)
ช313กรุงเทพ18:2018.43ชุมทางบ้านภาชี20:45ยกเว้นวันหยุดราชการ
ร167กรุงเทพ18.2018.52กันตัง11.20
ด77กรุงเทพ18.3518.56หนองคาย03.45
ร139กรุงเทพ18.5519.12อุบลราชธานี06.15
ด85กรุงเทพ19.3019.53นครศรีธรรมราช10.55
ดพ13กรุงเทพ19.3519.56เชียงใหม่08.40
ดพ25กรุงเทพ20.0020.21หนองคาย06.25ทดแทนขบวนที่ 69
ร107กรุงเทพ20.1020.31เด่นชัย05.15
ดพ23กรุงเทพ20.3020.47อุบลราชธานี06.35เวลาเดิมของ
ขบวนที่ 67
ร133กรุงเทพ20:4521.04หนองคาย07.55
ร105กรุงเทพ21.0021.15ศิลาอาสน์04.40
ด67กรุงเทพ21.3021.46อุบลราชธานี07.50
ด51กรุงเทพ22.0022.22เชียงใหม่12.10
ร141กรุงเทพ22.4522.59อุบลราชธานี10.20
ดพ39กรุงเทพ22.5023.11สุราษฎร์ธานี08.11ร่วมการโดยสาร
กับขบวนที่ 41
ดพ41กรุงเทพ22.5023.11ยะลา14.25ร่วมการโดยสาร
กับขบวนที่ 39
* ดพ= รถด่วนพิเศษ / ด= รถด่วน / ร= รถเร็ว / ธ= รถธรรมดา / ช= รถชานเมือง / พช= รถพิเศษชานเมือง / ท= รถท้องถิ่น / น= รถนำเที่ยว / ส= รถสินค้า


เที่ยวล่อง

ขบวนรถต้นทางชุมทางบางซื่อปลายทางหมายเหตุ
ชื่อสถานีเวลาออกชื่อสถานีเวลาถึง
ดพ4ศิลาอาสน์19.5003.35กรุงเทพ04.00
ด78หนองคาย18.3004.07กรุงเทพ04.35
ร142อุบลราชธานี17.3504.31กรุงเทพ05.00
ร108เด่นชัย19.0504.44กรุงเทพ05.10
ร174นครศรีธรรมราช13.0004.45กรุงเทพ05.10
ดพ24อุบลราชธานี19.0004.52กรุงเทพ05.15เวลาเดิมของ
ขบวนที่ 68
ด52เชียงใหม่15.3004.58กรุงเทพ05.25
ร168กันตัง12.4005.10กรุงเทพ05.30
ร134หนองคาย18:5005.12กรุงเทพ05:45
ดพ26หนองคาย19.4005.30กรุงเทพ06.00ทดแทนขบวนที่ 70
ดพ42ยะลา14.5505.33กรุงเทพ05.40ร่วมการโดยสาร
กับขบวนที่ 44
ดพ44สุราษฎร์ธานี20.2505.33กรุงเทพ05.40ร่วมการโดยสาร
กับขบวนที่ 42
ดพ14เชียงใหม่17.0005.46กรุงเทพ06.15
ด86นครศรีธรรมราช15.0005.56กรุงเทพ06.30
ด68อุบลราชธานี19.3006.14กรุงเทพ06.40
ช376รังสิต05.3506.23หัวตะเข้07.40กซข.74-ไม่มีเดินวันหยุดราชการ
ดพ10เชียงใหม่18.0006.25กรุงเทพ06.50ทดแทนขบวนที่ 2
ร140อุบลราชธานี20.3006.55กรุงเทพ07.20
ช314ชุมทางบ้านภาชี04:4507.02กรุงเทพ07:15ยกเว้นวันหยุดราชการ
ช356สุพรรณบุรี04.3007.37กรุงเทพ08.05
ช302ลพบุรี04.4007.44กรุงเทพ08.15เดินรถเฉพาะวันหยุดราชการ
ช342ชุมทางแก่งคอย05:0508.06กรุงเทพ08:40
ด84ตรัง17.3008.08กรุงเทพ08.45
ร170ยะลา12:1008.33กรุงเทพ08:05
ช318ลพบุรี06.0008.34กรุงเทพ09.05ยกเว้นวันหยุดราชการ
ร172สุไหงโก-ลก11:3008.50กรุงเทพ09:15
ดพ38สุไหงโก-ลก14.2009.45กรุงเทพ10.30ร่วมการโดยสาร
กับขบวนที่ 46
ดพ46ปาดังเบซาร์ 18.00
(GMT+8)
09.45กรุงเทพ10.30(ขบวนที่ 36 เดิม)
ร่วมการโดยสาร
กับขบวนที่ 38
ธ208นครสวรรค์05.0009.54กรุงเทพ10.20
ดพ32ชุมทางหาดใหญ่18.4510.06กรุงเทพ10.30
ช304ลพบุรี08:0010.05กรุงเทพ10:35
ช340ชุมทางแก่งคอย08:4510.40กรุงเทพ11:10
ธ212ตะพานหิน05.3011.44กรุงเทพ12.10
ธ202พิษณุโลก06.0513.40กรุงเทพ14.05
ธ234สุรินทร์05:2013.50กรุงเทพ14:15
ร106ศิลาอาสน์07.3014.15กรุงเทพ14.40
ด72อุบลราชธานี05.3014.27กรุงเทพ14.55ขยายต้นทาง
จากศีรขภูมิ[2]
ด76หนองคาย07:4516.45กรุงเทพ17:10
ร112เด่นชัย07.3017.33กรุงเทพ18.00
ร136อุบลราชธานี07.0018.12กรุงเทพ18.40
ธ262หัวหิน14.1018.35กรุงเทพ19.00
ดพ8เชียงใหม่08.5019.03กรุงเทพ19.25ขบวนที่ 12 เดิม
(ก่อน พ.ศ 2555)[3]
ดพ40สุราษฎร์ธานี10.4019.20กรุงเทพ19.45
ธ210บ้านตาคลี16.0020.14กรุงเทพ20.35
ร102เชียงใหม่06.3020.40กรุงเทพ21.10
ร146อุบลราชธานี09.3020.44กรุงเทพ21.10
ดพ22อุบลราชธานี14.5022.37กรุงเทพ22.55
* ดพ= รถด่วนพิเศษ / ด= รถด่วน / ร= รถเร็ว / ธ= รถธรรมดา / ช= รถชานเมือง / พช= รถพิเศษชานเมือง / ท= รถท้องถิ่น / น= รถนำเที่ยว / ส= รถสินค้า


ที่ทำการรับ-ส่งสินค้าพหลโยธิน

ที่ทำการรับส่งสินค้าพหลโยธิน หรือ ย่านพหลโยธิน เป็นย่านสถานีรถไฟที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย มีจำนวนรางมากกว่า 50 ราง เป็นย่านสับเปลี่ยนขนาดใหญ่ รวมความยาว (ตามแนวเส้นทาง) ถึง 4 กม. เป็นศูนย์ขนถ่ายสินค้าหลักของประเทศไทย อยู่ห่างจากตัวอาคารสถานีรถไฟไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือราว 1.5 กิโลเมตร

โรงรถจักรดีเซลบางซื่อ

โรงรถจักรดีเซลบางซื่อ เป็นโรงซ่อมบำรุงและโรงจอดรถจักรดีเซลที่ใช้ในการลากขบวนรถไฟ ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของสถานีรถไฟไปตามแนวเส้นทางในระยะประมาณ 1.5 กิโลเมตร นอกจากที่บางซื่อแล้ว ยังมีโรงรถจักรที่ สถานีรถไฟธนบุรี สถานีรถไฟนครราชสีมา สถานีรถไฟอุตรดิตถ์ สถานีรถไฟนครลำปาง สถานีรถไฟชุมทางหาดใหญ่ สถานีรถไฟชุมทางแก่งคอย สถานีรถไฟชุมทางทุ่งสง และ สถานีรถไฟชุมพร

ใกล้เคียง

สถานี สถานีกลางบางซื่อ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สถานีกรุงเทพ สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) สถานีบางหว้า สถานีอวกาศนานาชาติ สถานีวัดพระศรีมหาธาตุ สถานีวงเวียนใหญ่ สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี)

แหล่งที่มา

WikiPedia: สถานีบางซื่อ http://www.airportraillink.com/ http://www.bangsue-rangsitredline.com/file/12-61-1... http://www.railway.co.th/ http://www.thairath.co.th/content/eco/299573 http://www.otp.go.th/ https://www.facebook.com/ThaiRailNews/posts/218340... https://www.facebook.com/Thaitrainstory/photos/a.9... https://www.facebook.com/Thaitrainstory/photos/a.9... https://commons.wikimedia.org/wiki/Category:Bang_S... https://metro.bemplc.co.th/Line-Maps.aspx?Line=1&S...